เว็บไซต์นี้อัพเดตข้อมูลล่าสุดเมื่อ มีนาคม 2566 สามารถดูเวอร์ชันอัพเดตได้ที่ https://parliamentwatch.wevis.info/
THEY WORK FOR US

บันทึกการประชุมและการลงมติ

นับตั้งแต่เปิดประชุมสภาหลังการเลือกตั้ง มีการประชุมสภามาแล้วหลายต่อหลายครั้ง แต่ละครั้งก็มีหลายวาระ และใช้ระยะเวลาในการประชุมยาวนาน จนบางทีเราก็ตามไม่ทันว่ามีการลงมติครั้งสำคัญเกิดขึ้นในการประชุมครั้งไหนในสภาบ้าง? ใครยกมือสนับสนุนหรือคัดค้านมติไหน? เราจึงรวบรวบการลงมติครั้งสำคัญมาให้ พร้อมอธิบายสรุปแบบเข้าใจง่ายๆ ว่าสิ่งที่ผู้แทนแต่ละคนสนับสนุนหรือคัดค้านคืออะไร

สรุปผลการลงมติล่าสุด

16% เห็นด้วย

อภิปรายไม่ไว้วางใจ นายวิษณุ เครืองาม (ก.พ. 63)

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 เป็นการอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งแรกของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 25 โดยมีผู้ถูกอภิปราย 6 คน ได้แก่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยรัฐมนตรีทุกคนได้รับคะแนนเสียงไว้วางใจจากสภาเท่ากัน ยกเว้น ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ที่ถูกอภิปรายอย่างหนักจากคดีความเกี่ยวกับยาเสพติดในอดีต

ไม่ผ่าน
เห็นด้วย 54
ไม่เห็นด้วย 272
งดออกเสียง 2
ไม่ลงคะแนน 0
28.2.2020

16% เห็นด้วย

อภิปรายไม่ไว้วางใจ พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา (ก.พ. 63)

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 เป็นการอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งแรกของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 25 โดยมีผู้ถูกอภิปราย 6 คน ได้แก่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยรัฐมนตรีทุกคนได้รับคะแนนเสียงไว้วางใจจากสภาเท่ากัน ยกเว้น ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ที่ถูกอภิปรายอย่างหนักจากคดีความเกี่ยวกับยาเสพติดในอดีต

ไม่ผ่าน
เห็นด้วย 54
ไม่เห็นด้วย 272
งดออกเสียง 2
ไม่ลงคะแนน 0
28.2.2020

17% เห็นด้วย

อภิปรายไม่ไว้วางใจ นายดอน ปรมัตถ์วินัย (ก.พ. 63)

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 เป็นการอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งแรกของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 25 โดยมีผู้ถูกอภิปราย 6 คน ได้แก่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยรัฐมนตรีทุกคนได้รับคะแนนเสียงไว้วางใจจากสภาเท่ากัน ยกเว้น ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ที่ถูกอภิปรายอย่างหนักจากคดีความเกี่ยวกับยาเสพติดในอดีต

ไม่ผ่าน
เห็นด้วย 55
ไม่เห็นด้วย 272
งดออกเสียง 2
ไม่ลงคะแนน 0
28.2.2020

17% เห็นด้วย

อภิปรายไม่ไว้วางใจ ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า (ก.พ. 63)

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 เป็นการอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งแรกของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 25 โดยมีผู้ถูกอภิปราย 6 คน ได้แก่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยรัฐมนตรีทุกคนได้รับคะแนนเสียงไว้วางใจจากสภาเท่ากัน ยกเว้น ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ที่ถูกอภิปรายอย่างหนักจากคดีความเกี่ยวกับยาเสพติดในอดีต

ไม่ผ่าน
เห็นด้วย 55
ไม่เห็นด้วย 269
งดออกเสียง 7
ไม่ลงคะแนน 0
28.2.2020

47% เห็นด้วย

ตั้ง กมธ. วิสามัญ ศึกษาแนวทางป้องกันไม่ให้เกิดการรัฐประหารขึ้นอีกในอนาคต

ญัตติการตั้ง กมธ. วิสามัญ ศึกษาแนวทางป้องกันไม่ให้เกิดการรัฐประหารขึ้นอีกในอนาคต สืบเนื่องมาจาก การรัฐประหารใน 2 ครั้งล่าสุดเป็นต้นเหตุของการเกิดวิกฤติการการเมือง ที่ผ่านมาประเทศไทยไม่ใช้วิถีทางประชาธิปไตยในการแก้ไขปัญหาการเมือง แต่กลับใช้การรัฐประหาร เกิดการแตกขั้วทำลาย ความชอบธรรมจากการเลือกตั้งและความชอบธรรมจากการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ดังนั้นจึงอยากให้พิจารณาตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาแนวทางป้องกันไม่ให้เกิดรัฐประหารขึ้นอีกในอนาคต ประกาศศักดิ์ศรีของผู้แทนราษฎรว่าจะไม่ยอมจำนนต่อคณะรัฐประหาร และไม่ใช่ผู้แทนของคณะรัฐประหาร อีกทั้งญัตตินี้ไม่มีผลต่อความมั่นคงของรัฐบาล ไม่กระทบการทำงานของรัฐบาลที่ยังบริหารงานต่อไปได้

ไม่ผ่าน
เห็นด้วย 216
ไม่เห็นด้วย 242
งดออกเสียง 2
ไม่ลงคะแนน 0
20.2.2020

94% เห็นด้วย

ร่าง พ.ร.บ.กสทช. (วาระ 1)

ร่าง พ.ร.บ.กสทช. ได้แก้ไขคุณสมบัติของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจกาจโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม หรือ กสทช. ว่า ต้องไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นความผิดอันได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ นอกจากนี้ยังขยายสิทธิการสมัครรับคัดเลือกเป็นกสทช. ให้กับบรรดาผู้พิพากษา ข้าราชการตำรวจ-ทหาร และข้าราชการพลเรือน แต่ในขณะเดียวกันก็ตัดสิทธิผู้ที่มีประสบการณ์ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคหรือส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพของประชาชนออก และยังเพิ่มเงื่อนไขสำหรับผู้ที่มีประสบการณ์ด้านการบริหารกิจการกระจายเสียงด้วยว่าต้องมีประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 20 ปี เป็นต้น"

ผ่าน
เห็นด้วย 339
ไม่เห็นด้วย 11
งดออกเสียง 9
ไม่ลงคะแนน 0
20.2.2020
<12345678910111213141516171819202122232425262728293031323334>